**CC** มาดู หลิวอี้เฟย จากเรื่อง มังกรหยก 2 และภาพน่ารักๆของเธอกันค่ะ**CC**

หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:01:34 ]







หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:03:43 ]







เตียงหยกเย็น
ความเป็นมาของเตียงหยกเย็นนั้น ลิ้มเฉียวเอ็งใช้เวลาเจ็ดปีเดินทางถึงดินแดนภาคเหนือสุดเหน็บหนาว ขุดหาหยกเย็นจากใต้ชั้นน้ำแข็งลึกหลายร้อยวา เมื่อนอนอยู่บนเตียงหยกนี้ ฝึกปรือวิชากำลังภายในหนึ่งปีจะเทียบเท่าผู้คนทั่วไปฝึกถึงสิบปี
ตอนแรกเมื่อนอนอยู่เบื้องบนจะรู้สึกหนาวเย็นสุดทนทาน ได้แต่โคจรพลังฝีมือทั่วร่างคอยต้านทาน เวลาพอนานเข้า ก็กลายเป็นความเคยชิน แม้อยู่ในยามหลับ ยังโคจรพลังไม่ลดละ ผู้คนทั่วไปฝึกฝีมือ ต่อให้เป็นบุคคลที่ขยันหมั่นเพียรที่สุด ทุกวี่วันต้องนอนพักผ่อนเป็นเวลาหลายชั่วยาม ควรทราบว่าการฝึกปรือเป็นเรื่องราวฝืนฟ้า ระบบการโคจรเลือดลมล้วนแตกต่างจากเวลาปกติธรรมดา แต่ทุกคืนพอเข้านอน เลือดลมจะโคจรหมุนเวียนดุจเดิม ริดรอนพลังฝีมือที่ฝึกปรือเมื่อตอนกลางวันไปเก้าส่วน แต่หากนอนบนเตียงนี้ เวลานอนหลับมิเพียงไม่ลดทอนพลังฝีมือเมื่อตอนกลางวัน ตรงกันข้ามมีส่วนเพิ่มพูนพลังฝีมือกว่าเดิม
หากคิดจะใช้หิมะน้ำแข็งแทนหยกเย็น ก็มิอาจทำได้ เพราะหนึ่งนั้นหิมะน้ำแข็งพอเผชิญไออุ่นจากร่างคนจะละลายกลายเป็นน้ำ สอง หยกเย็นนี้ยังมีประสิทธิภาพเหนือล้ำกว่าหิมะน้ำแข็งหลายเท่า นอกจากนี้หยกเย็นยังมีคุณประโยชน์อีกประการหนึ่ง ผู้ที่ฝึกปรือวิชากำลังภายใน จะถูกธาตุไฟเข้าแทรก ดังนั้นโดยปกติทั่วไป ขณะที่ฝึกลมปราณ ต้องแบ่งแยกสมาธิครึ่งหนึ่ง ต่อต้านกับอัคคีแห่งดวงจิต หยกเย็นนี้เป็นวัตถุสุดเย็นของแผ่นดิน ผู้ที่บำเพ็ญภาวนาเวลานั่งหรือนอนบนก้อนหยก ไฟในอกจะสงบลงเอง ดังนั้นขณะที่ฝึกลมปราณ สามารถมุมานะอย่างเต็มที่ จึงทำให้ฝึกลมปราณได้รวดเร็วกว่าผู้คนทั่วไปอีกเท่าตัว

หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:04:20 ]







หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:05:38 ]







หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:08:05 ]







Quote : หมินหมิ่นหยู
เตียงหยกเย็น
ความเป็นมาของเตียงหยกเย็นนั้น ลิ้มเฉียวเอ็งใช้เวลาเจ็ดปีเดินทางถึงดินแดนภาคเหนือสุดเหน็บหนาว ขุดหาหยกเย็นจากใต้ชั้นน้ำแข็งลึกหลายร้อยวา เมื่อนอนอยู่บนเตียงหยกนี้ ฝึกปรือวิชากำลังภายในหนึ่งปีจะเทียบเท่าผู้คนทั่วไปฝึกถึงสิบปี
ตอนแรกเมื่อนอนอยู่เบื้องบนจะรู้สึกหนาวเย็นสุดทนทาน ได้แต่โคจรพลังฝีมือทั่วร่างคอยต้านทาน เวลาพอนานเข้า ก็กลายเป็นความเคยชิน แม้อยู่ในยามหลับ ยังโคจรพลังไม่ลดละ ผู้คนทั่วไปฝึกฝีมือ ต่อให้เป็นบุคคลที่ขยันหมั่นเพียรที่สุด ทุกวี่วันต้องนอนพักผ่อนเป็นเวลาหลายชั่วยาม ควรทราบว่าการฝึกปรือเป็นเรื่องราวฝืนฟ้า ระบบการโคจรเลือดลมล้วนแตกต่างจากเวลาปกติธรรมดา แต่ทุกคืนพอเข้านอน เลือดลมจะโคจรหมุนเวียนดุจเดิม ริดรอนพลังฝีมือที่ฝึกปรือเมื่อตอนกลางวันไปเก้าส่วน แต่หากนอนบนเตียงนี้ เวลานอนหลับมิเพียงไม่ลดทอนพลังฝีมือเมื่อตอนกลางวัน ตรงกันข้ามมีส่วนเพิ่มพูนพลังฝีมือกว่าเดิม
หากคิดจะใช้หิมะน้ำแข็งแทนหยกเย็น ก็มิอาจทำได้ เพราะหนึ่งนั้นหิมะน้ำแข็งพอเผชิญไออุ่นจากร่างคนจะละลายกลายเป็นน้ำ สอง หยกเย็นนี้ยังมีประสิทธิภาพเหนือล้ำกว่าหิมะน้ำแข็งหลายเท่า นอกจากนี้หยกเย็นยังมีคุณประโยชน์อีกประการหนึ่ง ผู้ที่ฝึกปรือวิชากำลังภายใน จะถูกธาตุไฟเข้าแทรก ดังนั้นโดยปกติทั่วไป ขณะที่ฝึกลมปราณ ต้องแบ่งแยกสมาธิครึ่งหนึ่ง ต่อต้านกับอัคคีแห่งดวงจิต หยกเย็นนี้เป็นวัตถุสุดเย็นของแผ่นดิน ผู้ที่บำเพ็ญภาวนาเวลานั่งหรือนอนบนก้อนหยก ไฟในอกจะสงบลงเอง ดังนั้นขณะที่ฝึกลมปราณ สามารถมุมานะอย่างเต็มที่ จึงทำให้ฝึกลมปราณได้รวดเร็วกว่าผู้คนทั่วไปอีกเท่าตัว

หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:08:34 ]







หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:10:21 ]







หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:13:04 ]







ทางออกจากสุสานโบราณ
ในสุสานโบารณนอกจากทางออกทางประตูแล้วยังมีทางออกอีกทางที่เฮ้งเต้งเอี้ยงได้ทำไว้ ความจริงตั้งใจทำไว้ป้องกัน หากสุสานถูกพวกไต้กิมปิดล้อมไว้เป็นเวลานาน จะอาศัยทางลับเอาตัวรอดออกไปได้ ภายหลังเฮ้งเต้งเอี้ยงยกสุสานโบราณให้ลิ้มเฉียวเอ็ง ได้บอกถึงถึงกลไกในสุสานทั้งหมดรวมทั้งศิลาตัดมังกร แต่ไม่ได้บอกเรื่องทางลับนี้ เพราะกริ่งเกรงนางจะหัวเราะเยอะ หาว่าเขาเตรียมหนทางถอยหนีเอาตัวรอด สูญเสียธาตุแท้ของลูกผู้ชายชาตรี จึงไม่ได้กล่าวบอกให้ทราบ
หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:14:48 ]







หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:16:56 ]







ไม้เท้าตีสุนัข

ไม้เท้าหวดสุนัขคู่ (ฮ่งพะซังเคี่ยง) กระบวนท่าแรกที่อั่งฉิกกงอธิบายให้เอี้ยก้วยฟัง (2-30)
ทั่วแผ่นดินไร้สุนัข (แอ๋บ้อเก้า) ท่าไม้ตายสุดท้ายและความเปลี่ยนแปลงสุดท้ายของเพลงไม้เท้าตีสุนัข (2-31)
ฟาดเฉียงหลังสุนัข (เซี้ยพะเก้าป่วย) ลู่อู่คาใช้สู้กับราชบุตรฮั่วตู (2-105)
ชิงไม้เท้าจากปากสุนัข (เคียงเค้าโต๊ะเจี๋ยง) ท่าที่อึ้งย้งใช้เพื่อชิงไม้เท้าตีสุนักคืนจากฮั่วตู (2-105เป็นท่าที่มีในวันนี้อ่ะที่อั้งชิกกงสอนให้พระเอก
หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:17:31 ]







หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:23:02 ]







วันนี้สงสารพ่อบุญธรรมเอี้ยก้วย และ อั้งชิกกงมากๆ
หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:25:31 ]







หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:26:01 ]







หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:27:39 ]







เซียวเหล่งนึ่งบุกชวนจินก่าอีก 1 ฉากที่น่าสนใจ
อีกฉากหนึ่งที่เป็นฉากสำคัญและท่านกิมย้งเขียนได้อย่างน่าสนุก คือฉากตอนที่เซียวเหล่งนึ่งบุกสำนักชวนจินก่า ฉากนี้ทั้งหมดเหมือนกับว่า ท่านกิมย้งตั้งใจจะเขียนมาเพื่อแสดงให้ผู้อ่านได้เห็นถึงความร้ายกาจของเพลงกระบี่คู่ของเซียวเหล่งนึ่ง ซึ่งเป็นฉากที่ค่อนข้างต่อเนื่องยาวนาน นับเป็นการต่อสู้ที่ยาวนานที่สุดของเซียวเหล่งนึ่งเลย

โดยเริ่มตั้งแต่สู้กับเหล่าศิษย์สำนักชวนจินก่า จากนั้นต้องฝ่าวงล้อมของยอดฝีมือจากมองโกล ผ่านมาได้ก็ต้องมาประทะกับราขครูกิมลุ้น จากนั้นพวกยอดฝีมือจากมองโกลสามคนก็เข้ามาสมทบกลายเป็นซียวเหล่งนึ่งต้องสู้กับยอดฝีมือทั้งสี่ และยังต้องมาประทะกับ คูชู่กี่และพวกอีกรวมห้าคน สุดท้ายกลายเป็นว่าเซียวเหล่งนึ่งคนเดียวต้องรับมือกับยอดฝีมือที่รายล้อมอยู่ถึงเก้าคน ถือเป็นฉากต่อสู้ที่ยาวนานทีเดียว

หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:28:56 ]







Quote : หมินหมิ่นหยู
เซียวเหล่งนึ่งบุกชวนจินก่าอีก 1 ฉากที่น่าสนใจ
อีกฉากหนึ่งที่เป็นฉากสำคัญและท่านกิมย้งเขียนได้อย่างน่าสนุก คือฉากตอนที่เซียวเหล่งนึ่งบุกสำนักชวนจินก่า ฉากนี้ทั้งหมดเหมือนกับว่า ท่านกิมย้งตั้งใจจะเขียนมาเพื่อแสดงให้ผู้อ่านได้เห็นถึงความร้ายกาจของเพลงกระบี่คู่ของเซียวเหล่งนึ่ง ซึ่งเป็นฉากที่ค่อนข้างต่อเนื่องยาวนาน นับเป็นการต่อสู้ที่ยาวนานที่สุดของเซียวเหล่งนึ่งเลย

โดยเริ่มตั้งแต่สู้กับเหล่าศิษย์สำนักชวนจินก่า จากนั้นต้องฝ่าวงล้อมของยอดฝีมือจากมองโกล ผ่านมาได้ก็ต้องมาประทะกับราขครูกิมลุ้น จากนั้นพวกยอดฝีมือจากมองโกลสามคนก็เข้ามาสมทบกลายเป็นซียวเหล่งนึ่งต้องสู้กับยอดฝีมือทั้งสี่ และยังต้องมาประทะกับ คูชู่กี่และพวกอีกรวมห้าคน สุดท้ายกลายเป็นว่าเซียวเหล่งนึ่งคนเดียวต้องรับมือกับยอดฝีมือที่รายล้อมอยู่ถึงเก้าคน ถือเป็นฉากต่อสู้ที่ยาวนานทีเดียว

หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:31:12 ]







หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:32:50 ]







หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:34:33 ]







หมินหมิ่นหยู
[ 31-03-2007 - 16:36:27 ]







ต้องสมัครเป็นสมาชิกและ login เข้าสู่ระบบก่อนถึงจะสามารถลงความเห็นได้

เว็บนี้มีการใช้งาน cookie
ยอมรับ
ไม่ยอมรับ